ทฤษฎีพัฒนาการตามวัยของ โรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
( Havighurst’s Theory of Development task )
แนวคิดของโรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ศาสตราจารย์โรเบิร์ต ฮาวิกเฮิร์ส ( Robert havighurst 1953-1972) ได้ชื่อว่า งานที่มนุษย์ทุกคนจะต้องทำตามวัยว่า “ งานพัฒนาการ” หมาย
ถึง
งานที่ทุกคนจะต้องทำในแต่ละวัยของชีวิตสัมฤทธิ์ผลของงานพัฒนาการของงานแต่ละ
วัย มีความสำคัญมากเพราะเป็นของการเรียนรู้งานพัฒนาขั้นต่อไป
ตัวแปรที่สำคัญในการพัฒนามี 3 อย่าง
1. วุฒิภาวะทางร่างกาย2. ความมุ่งหวังของสังคมและกลุ่มที่แต่ละบุคคลเป็นสมาชิกอยู่
3. ค่านิยม แรงจูงใจ ความมุ่งหวังส่วนตัวและความทะเยอทะยานของแต่ละบุคคล
3.1 ความพร้อมเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (Natural Readiness Approach)
3.2 ความพร้อมเกิดจากการกระตุ้น (Guided Experience Approach)
การแบ่งพัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 4 ด้านใหญ่ๆ คือ
1. พัฒนาการทางกาย เป็นการแบ่งพัฒนาการของมนุษย์ตามขั้นตอนในแต่ละวัน
2. พัฒนาการทางด้านความคิดหรือสติปัญญา (Cognitive Development) ของเพียเจท์
3. พัฒนาการทางด้านจิตใจ ซึ่งแบ่งย่อยเป็น
3.1 พัฒนาการทางด้านจิตใจ-เพศ (Psychosexual Development) ของฟรอยด์ (Freud)
3.2 พัฒนาการทางด้านจิตใจ-สังคม (Psychosocial Development) ของอีริคสัน (Erikson)
4. พัฒนาการด้านจริยธรรม (Moral Development) ของโคลเบริ์ก (Kohlberg)
พัฒนาการตามวัย
ศาสตราจารย์โรเบิร์ต ฮาวิกเฮิร์ส (Robert Havighurst ) ให้ความหมายว่า งานพัฒนาการ หมายถึง งานที่มนุษย์ทุกคนต้องทำในแต่ละวัยของชีวิต
สัมฤทธิ์ผลของงานพัฒนาการแต่ละวัย มีความสำคัญมากเพราะเป็นรากฐานของการเรียนรู้งานพัฒนาขั้นต่อไป
1. วัยเด็กเล็ก-วัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด- 6 ปี)
2. วัยเด็กตอนกลาง (6-18 ปี)
3. วัยรุ่น (12-18 ปี)
4. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
5. วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง / วัยกลางคน(35-60 ปี)
6. วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย / วัยชรา (อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป)
หลักพัฒนาการแนวคิด
- สามารถที่จะแสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับเพศของตน
- เลือกและเตรียมตัวที่จะเลือกอาชีพในอนาคต
- พัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญาและความคิดรวบยอดต่างๆที่จำเป็นสำหรับสมาชิกของชุมชนที่มีสมรรถภาพ
- มีความต้องการที่จะแสดงพฤติกรรมที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ฮาวิกเฮิร์ส
ได้แบ่งพัฒนาการของมนุษย์ไว้เป็น 6 ช่วงอายุ คือ
1. วัยเด็กเล็ก-วัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด- 6 ปี)
2. วัยเด็กตอนกลาง (6-18 ปี)
3. วัยรุ่น (12-18 ปี)
4. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
5. วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง / วัยกลางคน(35-60 ปี)
6. วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย / วัยชรา (อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป)
หลักพัฒนาการแนวคิด
- สามารถที่จะแสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับเพศของตน
- เลือกและเตรียมตัวที่จะเลือกอาชีพในอนาคต
- พัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญาและความคิดรวบยอดต่างๆที่จำเป็นสำหรับสมาชิกของชุมชนที่มีสมรรถภาพ
- มีความต้องการที่จะแสดงพฤติกรรมที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
- สามารถที่จะแสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะกับตัวเอง เลือกและเตรียมตัวที่จะเลือกอาชีพในอนาคต
พัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญาและความคิดรวบยอดต่างๆที่จำเป็นสำหรับสมาชิกของ ชุมชนที่มีสมรรถภาพ
- การนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
หลักสูตรสำหรับเด็กในระยะเริ่มแรกควรมุ่งสร้างความคิดรวบยอด โดยให้เด็กได้พบประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมมากที่สุด
เพื่อให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดจากสภาพที่เป็นจริง หลังจากนั้นจึงค่อยสร้างความคิดรวบยอดให้สิ่งที่เป็นนามธรรมต่อไปในภายหลัง
เช่น ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเวลา โอกาส อำนาจรัฐบาล เป็นต้น
ใน
สังคมไทยเป็นสังคมที่ตระหนักในคุณค่าของกฎเกณฑ์ทางศีลธรรมเป็น อันมาก
ดังนั้นโรงงเรียนจึงมีบทบาทมากในการศึกษาอบรมและพัฒนาความรู้สึกผิดชอบชั่ว
ดีและให้รู้กฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข
การดำเนินการของโรงเรียนอาจจะทำได้ในลักษณะต่อไปนี้
1.
โดยการสอนศีลธรรม
จรรยามารยาท
2.
โดยการให้รางวัลในกรณีที่ทำความดีความชอบ
และทำโทษกรณีที่ทำความผิด
3.
โดยการให้ผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
4.
โดยการให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการอยู่ร่วมกันกับเพื่อน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น